ย้ายกำแพงรั้วบ้านเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต โทร 085-5522465

lookmoo1981 profile image lookmoo1981

รับแก้รั้วกำแพงบ้านเอียงเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต รั้วล้ม รั้วเอียง ซ่อมแซม รื้อถอน หรือ ย้ายรั้ว ควบคุมงาน โดยทีมวิศวกร
รับทำรั้วบ้าน รั้วสำเร็จรูป รั้วคอนกรีต รั้วปูน รั้วสแตนเลส ทำรั้วบ้าน ล้อมสวน รั้วคาวบอย รั้วไฟฟ้า รั้วกึ่งสปริง รั้วทนสนิม เสารั้ว ประตูรั้ว เครื่องมือติดตั้งรั้ว แบบรั้ว คุณภาพสูง
ประตูรั้วบ้านล้อมสวนเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
รับเหมาทำรั้วสำเร็จรูปเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ติดตั้งออแบบรั้วบ้านเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ออกแบบรับเหมารั้วคอนกรีตเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
แบบประตูรั้วเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ออกแบบรั้วฟาร์มเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ช่างติดตั้งรั้วคาวบอยเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
รับทำกำแพงรั้วกั้นดินเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต



                   ติดต่อสอบถาม





งานย้ายกำแพงรั้ว  แก้ไขรั้วคอนกรีต รั้วล้ม รั้วเอียง ซ่อมแซม รื้อถอน หรือ ย้ายรั้ว ควบคุมงาน โดยทีมวิศวกร #รั้วบ้าน #รั้วทรุด #รั้วแตก #รั้วพัง #รั้วกำแพง #กำแพงรั่ว #ซ่อมบ้าน
ซ่อมรั้วล้มเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ซ่อมรั้วเอียงเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ซ่อมแซมรั้วคอนกรีตอเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
รื้อถอนกำแพงรั้วเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ย้ายรั้วกำแพงเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
กำแพงรั้วเอียงเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
แก้ไขรั้วกำแพงที่เอียงเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
แก้ไขปัญหารั้วบ้านทรุดเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต



รับเหมาทำรั้ว  งานรัฐบาลทั้งส่วนกลางหรือ
ส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กงานใหญ่ ทั้งให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเรื่องรั้วฟรี เรามีทีมงานที่มีประสบการณ์ในการทำรั้ว
อุปกรณ์และเครื่องมือครบครัน สามารถผลิตชิ้นส่วนส่ง



 




บริการของเราสร้างรั้ว ของเรามีดังต่อไปนี้

รับทำรั้วบ้านเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต  , รับสร้างรั้วบ้าน, รับผลิตรั้วบ้าน, รั้วบ้านคอนกรีต, รั้วบ้านไม้, รั้วบ้านตามสไตล์ที่คุณชอบ
รับทำรั้วคอนกรีตสำเร็จรูปเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต  รับสร้างรั้วคอนกรีตสำเร็จรูป JRP, รับผลิตรั้วคอนกรีตสำเร็จรูป
รับทำกำแพงรั้วกั้นดินเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต  รับทำกำแพงรั้วกั้นน้ำ, รับทำกำแพงรั้วกั้นเขื่อน
รับทำรั้วฟาร์มเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต  รับทำรั้วสวนผลไม้, รับทำรั้วโรงงาน


 




ผลงานจริงออกมาตรงตามแบบมากที่สุด ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่อยากมีบ้านที่มีคุณภาพ บ้าน อาคาร คอนโด
โรงแรม รวมถึงงานเฟอร์นิเจอร์ บิวท์อิน และงานก่อสร้าง
รับเหมางานโครงสร้างฐานรากเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ราคางานฐานรากเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ราคา BOQ งานก่อสร้างเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ค่าเตรียมการก่อสร้างเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ค่าแรงในboqเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต
ราคาขึ้นโครงสร้างบ้านเขตสวนปทุมวนานุรักษ์ สถานีสยาม สถานีชิดลม สถานีราชดำริ สถานีเพลินจิต



กำแพงกันดิน (Retaining Wall) เป็นรูปแบบโครงสร้างผนังกันดินที่มีความหนา และมีความแข็งแรงทนทานเป็นพิเศษ เพื่อรองรับแรงดันจากมวลดิน และมวลของเหลวตามธรรมชาติ เช่น น้ำ หรือ โคลน รวมถึงแรงกดทับต่างๆที่มาจากด้านบน โดยมีบทบาทสำคัญต่อการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างเป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน อาทิ การตกแต่งภูมิทัศน์ ,การสร้างเขื่อน , อุโมงค์ , กำแพงกันดินสไลด์ตามฝั่งแม่้น้ำเพื่อลดการทรุดตัวของดิน , การสร้างสะพาน , การก่อสร้างบริเวณแนวภูเขาที่มีความลาดชันเพื่อป้องกันดินถล่ม หรือ บริเวณที่ราบสูง ไปจนถึงงานโครงสร้างชั้นใต้ดินของอาคารขนาดใหญ่ หรือ ตึกสูงระฟ้า และอาคารบ้านเรือน เป็นต้น

ต้นปี ค.ศ.1900 กำแพงกันดินมักจะทำมาจากวัสดุจำพวกไม้ที่มีความแข็งแรงสูง เช่น ไม้ยูคา ไม้ไผ่ ไม้สัก และไม้เนื้อแข็งต่างๆ ต่อมาหลังปี ค.ศ.1970 มีการพัฒนาในด้านการใช้วัสดุ โดยเปลี่ยนมาใช้เหล็กชีทไพล์ ,ซีเมนต์ และคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง ทดแทนการใช้ไม้เพื่อตอบโจทย์มาตรฐานทางด้านวิศวกรรม โดยจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆตามรูปแบบการใช้งานดังนี้
Gravity Wall
Piling Wall
Cantilever Wall
Anchored Wall
Diaphragm Wall
และจากสภาพงานก่อสร้างในยุคปัจจุบัน การขาดแคลนแรงงานมักจะเป็นปัญหาหลักของงานโยธาที่มักจะเป็นงานหนัก
และใช้แรงงานมาก จึงทำให้หลายโครงการดำเนินงานได้ช้ากว่าที่ควรจะเป็น ไม่แล้วเสร็จตามกำหนด และส่งผลทำให้ต้นทุนบานปลาย

กำแพงกันดินสำเร็จรูป (Retaining Wall Block) หรือ กำแพงกันดินแบบหล่อสำเร็จ จึงถูกพัฒนาให้มีศักยภาพ และเข้ามามีบทบาทในงานก่อสร้างมากขึ้น ซึ่งข้อดีของกำแพงกันดินสำเร็จรูปนั้นจะช่วยประหยัดแรงงานในการก่อสร้าง โดยเน้นใช้เครื่องจักรทำงานแทนแรงงานเคลื่อนย้าย  และติดตั้งได้สะดวก อีกทั้งยังประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการก่อสร้างได้

กำแพงกันดิน (Retaining wall) คืออะไร ?
กำแพงกันดิน (Retaining wall) คืออะไร ?  กำแพงกันดิน คือ ลักษณะโครงสร้างที่ถูกออกแบบมาให้ทนทาน โดยสร้างขึ้นมาเพื่อต้านแรงดันของมวลดิน หรือ โคลนและน้ำ ที่มีความลาดชัน และในระดับดินที่ต่างกัน หรือถ้าให้อธิบายด้วยคำง่ายๆคือ ใช้ป้องกันการพังทลายของดินที่มีระดับแตกต่างกันนั่นเอง  
 
กำแพงกันดิน คือ ลักษณะโครงสร้างที่ถูกออกแบบมาให้ทนทาน โดยสร้างขึ้นมาเพื่อต้านแรงดันของมวลดิน หรือ โคลนและน้ำ ที่มีความลาดชัน และในระดับดินที่ต่างกัน หรือถ้าให้อธิบายด้วยคำง่ายๆคือ ใช้ป้องกันการพังทลายของดินที่มีระดับแตกต่างกันนั่นเอง  

ประเภทของกำแพงกันดิน
ประเภทของกำแพงกันดิน   ประเภทของกำแพงกันดินนั้น สามารถจำแนกประเภทได้ด้วยรูปแบบโครงสร้างของกำแพงกันดิน และ วัสดุที่ใช้ในการสร้างกำแพงกันดิน โดยลักษณะของโครงสร้างกำแพงกันดินแบ่งออกเป็น  กำแพงกันดินแบบไม่ใช้เสาเข็ม
กำแพงกันดินแบบเสาเข็ม
 
ประเภทของกำแพงกันดินนั้น สามารถจำแนกประเภทได้ด้วยรูปแบบโครงสร้างของกำแพงกันดิน และ วัสดุที่ใช้ในการสร้างกำแพงกันดิน โดยลักษณะของโครงสร้างกำแพงกันดินแบ่งออกเป็น



กำแพงกันดินแบบไม่ใช้เสาเข็ม

กำแพงกันดินแบบเสาเข็ม
กำแพงกันดินแบบไม่ใช้เสาเข็ม เป็นลักษณะของกำแพงดินที่จะใช้งานในกรณีที่เสาเข็มตอกลงไปไม่ได้ โดยมีกำแพงกันดิน 2 ประเภทที่เป็นกำแพงกันดินในลักษณะนี้ คือ

เป็นกำแพงกันดินในยุคแรกๆที่ถูกสร้าง เป็นลักษณะของกำแพงกันดินที่ต้องมีขนาดและน้ำหนักมากเพียงพอ เพื่อที่จะต้านทานแรงดันดินไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัวได้ทั้งที่ฐานและ ไม่ให้เกิดการพลิกคว่ำด้วยตัวกำแพงเอง โดยส่วนมากมักจะใช้กำแพงกันดินแบบถ่วงน้ำหนักในกรณีที่ต้องการความสูงในช่วง 1 – 5 เมตร และขนาดของฐานจะต้องมีความกว้างประมาณ 0.5 – 0.7 เท่าของความสูงของกำแพง

กำแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ Cantilever wall
กำแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ Cantilever wall  เป็นรูปแบบของกำแพงกันดินที่ถูกพัฒนามาจากแบบถ่วงน้ำหนัก โดยมีหน้าที่เหมือนกันแต่แตกต่างกันที่ มีการเพิ่มคานด้านล่างให้ยื่นเข้าไปในฝั่งดินที่มีระดับความสูงที่มากกว่า เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการกันดิน โดยที่ไม่ต้องอาศัยเสาเข็ม โดยจะใช้ในกรณีที่กำแพงมีความสูงประมาณ 2-10 เมตร นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งรูปแบบของกำแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ Cantilever wall ออกเป็น 2 รูป คือ แบบตัว Lคว่ำ และ แบบตัว T คว่ำ
 
เป็นรูปแบบของกำแพงกันดินที่ถูกพัฒนามาจากแบบถ่วงน้ำหนัก โดยมีหน้าที่เหมือนกันแต่แตกต่างกันที่ มีการเพิ่มคานด้านล่างให้ยื่นเข้าไปในฝั่งดินที่มีระดับความสูงที่มากกว่า เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการกันดิน โดยที่ไม่ต้องอาศัยเสาเข็ม โดยจะใช้ในกรณีที่กำแพงมีความสูงประมาณ 2-10 เมตร นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งรูปแบบของกำแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ Cantilever wall ออกเป็น 2 รูป คือ แบบตัว Lคว่ำ และ แบบตัว T คว่ำ

กำแพงกันดินแบบเสาเข็ม
กำแพงกันดินแบบเสาเข็ม   กำแพงกันดินลักษณะนี้ แตกต่างกับแบบไม่ใช้เสาเข็มตรงที่ มีการใช้เสาเข็มในการช่วยผยุงกำแพงโดยวัสดุที่ใช้เป็นเสาเข็มจะมีความแตกต่างกันออกไปเพื่อให้เหมาะสมกับรูปบบของพื้นที่บริเวณนั้นๆ เช่น
 
กำแพงกันดินลักษณะนี้ แตกต่างกับแบบไม่ใช้เสาเข็มตรงที่ มีการใช้เสาเข็มในการช่วยผยุงกำแพงโดยวัสดุที่ใช้เป็นเสาเข็มจะมีความแตกต่างกันออกไปเพื่อให้เหมาะสมกับรูปบบของพื้นที่บริเวณนั้นๆ เช่น

กำแพงแบบตอกเข็มเสียบแผ่นกันดิน
ส่วนใหญ่กำแพงแบบนี้จะใช้เสาเข็มตัวไอ เพื่อเอาไว้เสียบแผ่นกันดินตามช่องของเสาเข็ม โดยหากมีปริมาณดินที่ถมนั้นสูงมาก ก็อาจจะมีการเพิ่มเข็มรั้ง หรือสเตย์ เข้ามาอีกต้นเพื่อเพิ่มความแข็งแรง


 


ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน

10 เดือนที่ผ่านมา
10 เดือนที่ผ่านมา