หลักกฎหมายมหาชน สิทธิกร ศักดิ์แสง

attorney285 profile image attorney285
หลักกฎหมายมหาชน สิทธิกร ศักดิ์แสง



ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_886724_th_4562124

หลักกฎหมายมหาชน สิทธิกร ศักดิ์แสง
ผู้แต่ง : สิทธิกร ศักดิ์แสง
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 2 : สิงหาคม 2557
จำนวนหน้า : 376 หน้า
ขนาด : 18.5x26 
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
สารบัญ
 
ภาค 1 ความรู้ทั่้วไปเกี่ยวกับกฎหมายมหาชน
บทที่ 1 ความหมาย  ลักษณะของกฎหมาย
1.ความหมายของกฎหมาย
2.ลักษณะของกฎหมาย
2.1กฎหมายเป็นข้อกำหนดแบบแผนความประพฤติของมนุษย์
2.2กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับของรัฐ
2.3กฎหมายเป็นข้อบังคับความประพฤติของมนุษย์อย่างเป็นกิจลักษณะ
2.4กฎหมายเป็นข้อบังที่มีสภาพบังคับ
3.แนวคิดทฤษฎีการแยกประเภทและความแตกต่างของกฎหมายเอกชน-กฎหมายมหาชน
3.1แนวคิดทฤษฏีการแบ่งประเภทของกฎหมายเอกชน-กฎหมายมหาชน
3.2ความแตกต่างระหว่างกฎหมายเอกชน-กฎหมายมหาชน
3.3ประโยชน์ในการแบ่งประเภทของกฎหมายเอกชน-มหาชน
 
4.ประเภทของกฎหมายมหาชน
บทที่ 2 นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
1.หลักนิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
1.1นิติวิธีเชิงปฏิเสธกฎหมายเอกชน
1.2นิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
2.หลักคิดพื้นฐานเพื่อประกอบการเข้าถึงหลักนิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
2.1นิติวิธีเชิงเปรียบเทียบกฎหมายมหาชน
2.2นิติวิธีเชิงประวัติศาสตร์และสังคมวิทยา
บทที่ 3 พัฒนาการของกฎหมายมหาชน
1.พัฒนาการของกฎหมายมหาชนของต่างประเทศ
1.1กลุ่มระบบกฎหมายซิวิลลอร์
1.2กลุ่มระบบกฎหมายคอมมอนลอร์
2.พัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย
2.1พัฒนาการกฎหมายมหาชนยุคการระบบศักดินา
2.2พัฒนาการกฎหมายมหาชนยุคการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 
2.3พัฒนาการกฎหมายมหาชนยุคการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
2.4พัฒนาการกฎหมายมหาชนยุคอำนาจนิยมและการปฏิรูปการเมือง
บทที่ 4 แหล่งที่มาและลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
1.แหล่งที่มาของกฎหมาย
1.1ความหมายของแหล่งที่มาอันเป็นบ่อเกิดของกฎหมาย
1.2วิธีในการศึกษาอันเป็นแหล่งที่มาของกฎหมาย
1.3แหล่งที่มาของกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1.4แหล่งที่มาของกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
2.ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
2.1การจัดลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
2.2ผลของการจัดลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
บทที่ 5 กฎหมายมหาชนที่สำคัญ
1.กฎหมายรัฐธรรมนูญ
1.1 ความหมายของรัฐธรรมนูญ
1.2ประเภทของรัฐธรรมนูญที่มีความสำคัญในทางวิชาการ
1.3ลักษณะของรัฐธรรมนูญ
1.4เนื้อหาสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ
2.กฎหมายปกครอง
2.1ความหมายของกฎหมายปกครอง
2.2หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง
2.3ลักษณะและเนื้อหาสาระสำคัญของกฎหมายปกครอง
3.กฎหมายการคลัง
3.1ความสำคัญของการคลัง
3.2ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังกับนโยบายการคลัง
3.3การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน
       
ภาค 2 รัฐในสถาบันกฎหมายมาหาชน
บทที่ 6  ข้อความคิดว่าด้วยรัฐ
1.ความหมายของคำว่ารัฐ
1.1 รัฐ  หมายถึง   สังคมการเมือง
1.2  รัฐหมายถึง  บรรดาสถาบันและบุคคลทั้งหลายที่เป็นสมาชิกของสถาบัน
1.3รัฐหมายถึง ฝ่ายการปกครอง
2.การศึกษารัฐในแง่รัฐศาสตร์
2.1รัฐเป็นสังคมมนุษย์รูปแบบหนึ่ง
2.2รัฐเป็นสังคมมนุษย์ที่ผูกติดกับดินแดนส่วนหนึ่งส่วนใดของโลก
2.3รัฐเป็นสังคมมนุษย์ที่มีการปกครอง
2.4อำนวจที่ผู้ปกครองใช้ถือเป็นอำนาจปกครองสูงสุดหรืออำนาจอธิปไตย
2.5สรุปลักษณะร่วมหรือองค์ประกอบของคำว่า  รัฐในแง่สังคมศาสตร์
3.การศึกษารัฐในแง่นิติศาสตร์
3.1รัฐเป็นนิติบุคคล
3.2รัฐเป็นบุคคลมหาชน
3.3รัฐเป็นนิติบุคคลที่มีลัษณะเฉพาะหรือลักษณะพิเศษ
3.4ความเป็นนิติบุคคลของรัฐตามกฎหมายมหาชน
4.การวิเคราะห์แนวคิดว่าด้วยรัฐในแง่สังคมศาสตร์และนิติสตร์
บทที่ 7แนวคิดและการทฤษฎีการกำเนิดรัฐ
1.ทฤษฎีสัญญาประชาคม
1.1ทฤษฎีสัญญาประชาคมโลกตะวันตก
1.2ทฤษฎีสัญญาประชาคมโลกตะวันออก
2.ทฤษฎีเทวสิทธ์
2.1ทฤษฎีเทวสิทธ์โลกตะวันตก
2.2ทฤษฎีเทวสิทธ์โลกตะวันออก
3.ทฤษฎีกำลังอำนาจ
4.ทฤษฎีวิวัฒนาการ
4.1ปัจจัยทางสายโลหิต
4.2ปัจจัยทางสัญชาตญาณ
4.3ปัจจัยทางเครือญาติ
4.4ปัจจัยการรวมเผ่า
4.5ปัจจัยการรวมเป็นชาติ
บทที่ 8รูปแบบของรัฐและรูปแบบการปกครองของรัฐของรัฐสมัยใหม่
1.การพิจารณารูปแบบของรัฐโดยการพิจารณาประมุขของรัฐ
1.1ราชอาณาจักร
1.2สาธารณรัฐหรือมหาชนรัฐ
2.การพิจารณารูปแบบของรัฐโดยการพิจารณาจากการใช้อำนาจอธิปไตยของรัฐ
2.1รัฐเดี่ยวหรือเอกรัฐ
2.2รัฐรวม
บทที่ 9 ภารกิจของรัฐสมัยใหม่
1.มาตรการของรัฐในการดำเนินการให้เป็นไปตามภารกิจ
1.1มาตรการทางสังคม
1.2มาตรการทางกฎหมาย
2.ภารกิจของรัฐ
2.1ภารกิจขั้นพื้นฐาน
2.2ภารกิจเสริมหรือภารกิจลำดับรอง
3.รูปแบบภารกิจของรัฐกับการบริการสาธารณะ
3.1ภารกิจของรัฐกับการบริการสาธารณะโดยรัฐ
3.2ภารกิจของรัฐกับการบริการสาธารณะโดยเอกชน
ภาค 3 ปรัชญาว่าด้วยการใช้อำนาจและการจำกัดอำนาจของรัฐ
บทที่ 10 หลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรม
1.แนวคิดพื้นฐานเรื่องหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรม
1.1แนวคิดเรื่องหลักนิติธรรม
1.2แนวคิดเรื่องหลักนิติธรรม
2.ความแตกต่างและความคล้ายคลึงระหว่างหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรม
2.1ความแตกต่างของหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรม
2.2ความคล้ายคลึงระหว่างหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรม
3.หลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรมที่ปรากฎอยู่ในรัฐธรรมนูญ
3.1เหตุผลของการนำหลักนิติรัฐกับหลักนิติธรรมมาใช้ร่วมกัน
3.2บทบัญญัติรัฐธรรมนูญที่ปรากฎหลักการปกครองแบบนิติรัฐที่ยึดหลักนิติธรรม
บทที่ 11 การกระทำและการควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ
1.หลักทั่วไปองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ
1.1โครงสร้างองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ
1.2การเข้าสู่ตำแหน่งของสมาชิกฝ่ายนิติบัญญัติ
2.ที่มาองค์กรรัฐฝ่ายนิติบัญญัติของประเทศไทย
2.1ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
2.2ที่มาสมาชิกวุฒิสภา
3.การกระทำของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติของประเทศไทย
3.1อำนาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย
3.2อำนาจหน้าที่ในการควบคุมการกฎหมาย ที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
3.3อำนาจหน้าที่ในการควบคุมฝ่ายบริหาร
3.4อำนาจหน้าที่ในการให้ความเห็นชอบและอำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
3.5อำนาจในการอนุมัติพระราชกำหนด
4.การควบคุมการกระทำของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติของประเทศไทย
4.1การควบคุมคุมฝ่ายนิติบัญญัติด้วยวิธียุบสภา
4.2การควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติด้วยวิธีการตรวจสอบทรัพย์สิน
4.3การควบคุมการกระทำที่ขัดกันแห่งผลประโยชน์ของฝ่ายนิติบัญญัติ
4.4การควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติด้วยวิธีการถอดออกจากตำแหน่ง
4.5การควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติด้วยวิธีการดำเนินคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
บทที่12การกระทำและการควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร
1.หลักทั่วไปขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร
1.1ประมุขของรัฐ
1.2หัวหน้าฝ่ายบริหาร
1.3คณะรัฐมนตรี
1.4รัฐมนตรี
2.ที่มาองค์กรของรัฐฝ่ายบริหารของประเทศไทย
2.1ที่มาขององค์กรรัฐฝ่ายบริหารในฐานะทางการเมือง
2.2ที่มาขององค์กรของรัฐในฐานะฝ่ายปกครอง
3.การกระทำของรัฐฝ่ายบริหารของประเทศไทย
3.1การกระทำของรัฐฝ่ายบริหารในฐานะฝ่ายการเมือง
3.2การกระทำของรัฐฝ่ายบริหารในฐานะฝ่ายปกครอง
4.การควบคุมการกระทำของรัฐฝ่ายบริหารของประเทศไทย
4.1การควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารในฐานะฝ่ายการเมือง
4.2การควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร ในฐานะฝ่ายปกครอง
4.3การควบคุมฝ่ายบริหารด้วยวิธีการตรวจสอบทรัพย์สิน
4.4การควบคุมการกระทำที่ขัดกันแห่งผลประโยชน์ของฝ่ายบริหาร
4.5การควบคุมฝ่ายบริหารด้ายการถอดถอนจากตำแหน่ง
4.6การควบคุมฝ่ายนิติบัญญัติด้วยวิธีการดำเนินคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
บทที่ 13 การกระทำและการควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการ
1.หลักทั่วไปขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการ
2.ที่มาขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการของประเทศไทย
2.1การสรหาและการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ
2.2ความเป็นอิสระของผู้พิพากษาและตุลาการ
3.การกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการของประเทศไทย
3.1อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ
3.2อำนาจของศาลยุติธรรม
3.3อำนาจของศาลปกครอง
3.4อำนาจศาลทหาร
4.การควบคุมการกระทำขององค์กรของรัฐฝ่ายตุลาการของประเทศไทย
4.1การควบคุมตรวจสอบโดยภายในองค์กรตุลาการด้วยตนเอง
4.2การควบคุมตุลาการโดยการถอดถอนออกจากตำแหน่ง
4.3การควบคุมตุลาการด้วยวิธีการดำเนินคดีอาญา
บทที่14 การกระทำและการควบคุมการกระทำขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ
1.องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
1.1คณะกรรมการการเลือกตั้ง
1.2ผู้ตรวจการแผ่นดิน
1.3คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
1.4คณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน
2.องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
2.1องค์กรอัยการ
2.2คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
2.3สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
บรรณานุกรม
ดัชนีค้นเรื่อง
ประวัติผู้แต่ง

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_886724_th

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order 
 
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 
 
 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

หลักกฎหมายมหาชน สิทธิกร ศักดิ์แสง

ความคิดเห็น

ประกาศล่าสุดในบอร์ดเดียวกัน