ทนายคดีรถชนกับบริษัทประกันเขตพระนคร
การเจรจาค่าสินไหมเขตพระนคร
รับปรึกษาคดีรถชนเขตพระนคร
หาทนายเขตพระนคร เรียกค่าเสียหายประกันไม่จ่าย
ปรึกษาทนายเขตพระนคร
คดีรถชนเขตพระนคร กับ การเจรจาค่าสินไหม ค่ารักษา ค่าซ่อมรถ กับ บริษัท ประกัน และตำรวจที่โรงพัก อันดับแรก ควรเอา " ผลคดี " ก่อนว่า ฝ่ายใดผิด ฝ่ายใดถูก
การเรียกค่าเสียหายจากอุบัติเหตุรถชนและขั้นตอนการฟ้องเรียกค่าสินไหม
ผู้เสียหายจึงควรมีทนายความเข้าดำเนินการจัดการให้มิเช่นนั้นอาจเสียรู้ให้กับคู่ความ
รับปรึกษาคดีรถชน เรียกค่าสินไหมเขตพระนคร
คดีรถชนเขตพระนคร ละเมิด อุบัติเหตุ เรียกค่าเสียหายประกันไม่จ่าย
แนวทางการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือ ค่าเสียหาย เกี่ยวกับรถชน
(แนวทางเบื้องต้น) เมื่อเกิดเหตุรถชน
ได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิต หรือ ทรัพย์สินเสียหาย(เราเป็นฝ่ายถูก) การเรียกร้องค่าเสียหาย คือ
**เกี่ยวกับ “ เจ้าของรถ “ เช่น ค่าซ่อมรถ(ถ้าจ่ายค่าซ่อมรถเอง) ,ค่าเสื่อมราคารถ ,ค่าขาดประโยชน์ไม่มีรถใช้ระหว่างซ่อม
**เกี่ยวกับ “ ทายาทของผู้เสียชีวิต “ ค่าปลงศพ ,ค่าจัดการงานศพ ,ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู (บุตร บิดามารดา คู่สมรส)
และ ค่าเสียหายต่าง ๆ ตามกฎหมาย ถ้ามี
***การฟ้องคดี มี 2 แบบ คือ การฟ้องคนขับ+นายจ้าง(ถ้ามี)+บริษัทประกัน หรือ การฟ้องบริษัทประกัน(เพียงอย่างเดียว)
***การฟ้องคนขับ+นายจ้าง(ถ้ามี)+บริษัทประกัน คือ “ การฟ้องศาล “ ซึ่งศาลมี 3 ศาล(ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา)
การฟ้องศาลชั้นต้นใช้เวลาโดยประมาณ 4 เดือน ถึง 2 ปี แล้วแต่จะเจรจาจบ หรือ สืบพยานสู้คดี เมื่อศาลชั้นต้นตัดสินแล้ว
การทำเรื่องเรียกร้องเงินค่าเสียหายมี 2 แนวทาง คือ การเจรจา หรือ การฟ้องคดี
***การเจรจา คือ การนัดคู่กรณีทั้งสองฝ่าย ฝ่ายถูก กับ ฝ่ายผิด มาพูดคุยเจรจาต่อลองเรียกเงินค่าเสียหายพร้อมทำรายการ
ค่าเสียหายแนบเอกสารต่าง ๆ ประกอบการเรียกร้อง อาจนัดกันที่ สถานีตำรวจ บริษัทประกัน หรือ ที่บ้านผู้เสียหาย ส่วนใหญ่นัดเจรจาที่สถานีตำรวจ
คดีรถชน การฟ้องศาล มีขั้นตอนวิธีการอย่างไร?
การฟ้องศาล มีขั้นตอนวิธีการอย่างไร?
1. ต้องมีพยานหลักฐาน พยานบุคคลซึ่งเห็นเหตุการณ์ พยานวัตถุ การตรวจร่องรอยการเฉี่ยวชน สภาพร่องรอยจุดเฉี่ยวชนที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าคู่กรณีเป็นฝ่ายผิดหรือผิด
2. จำเป็นต้องติดต่อมอบคดี ให้ทนายความดำเนินคดีแพ่ง ภายใน 1 นับแต่เกิดเหตุ ทนายความจะรวบรวมหลักฐาน และให้ความเห็นเบื้องต้นได้ว่าคดีมีโอกาสชนะคดีได้หรือไม่
3. เมื่อสำนวนส่งอัยการ ให้ติดตามไปสอบถามที่ สนง.อัยการ ตำรวจสั่งฟ้องประมาทร่วมหรือไม่? หากประมาทร่วม คุณอาจร้องขอความเป็นธรรมให้อัยการ ทบทวน และสอบพยานเพิ่มเติม เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ครอบครัวผู้ตาย(บางครั้งมีการโยนความผิดให้ผู้ตาย)(คนตายไม่อาจให้ถ้อ
4. แม้อัยการจะยืนยันว่าเป็นประมาทร่วม ก็ไม่ตัดสิทธิ์ฝ่ายทายาทผู้ตายจะฟ้องคดีแพ่ง เพื่อพิสูจน์ความจริง
คดีเรียกสินไหมประกันเขตพระนคร
พระบรมมหาราชวัง วังบูรพาภิรมย์ วัดราชบพิธ
เขตสำราญราษฎร์ ศาลเจ้าพ่อเสือ เสาชิงช้า บวรนิเวศ
เขตตลาดยอด ชนะสงคราม บ้านพานถม บางขุนพรหม วัดสามพระยา
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนกรุงเกษม
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนข้าวสาร
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนจักรเพชร
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนเจ้าฟ้า
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนเจริญกรุง
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนดินสอ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนตรีเพชร
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนตานี
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนตะนาว
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนตีทอง
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนบ้านหม้อ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนบำรุงเมือง
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนประชาธิปไตย
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพระพิทักษ์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพระจันทร์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพระพิพิธ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพระสุเมรุ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพระอาทิตย์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนพาหุรัด
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนเฟื่องนคร
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนมหรรณพ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนมหาไชย
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนมหาราช
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนราชินี
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนราชดำเนินใน ราชดำเนินกลาง และราชดำเนินนอก
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนวิสุทธิกษัตริย์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนศิริพงษ์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนสนามไชย
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนสิบสามห้าง
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนสามเสน
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนหน้าพระธาตุ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนหน้าพระลาน
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนหลวง
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนอุณากรรณ
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนอัษฎางค์
ทนายอุบัติเหตุรถชนถนนบูรพา