กระจกหมายถึง ??
วัสดุที่ทำมาจากแก้ว ซึ่งมีองค์ประกอบหลักทางเคมีคือซิลิคอน ซึ่งสามารถหลอมและนำไปขึ้นรูปได้ เมื่อเย็นตัวแล้วมีลักษณะ โปร่งใส และเป็นของแข็งโดยไม่จับผลึก (มีค่าความหยัดตัวสูง) กระจกจึงสามารถแตกได้เหมือนแก้ว และมีความคมมากกว่าแก้วเมื่อแตกเพราะมีความบางในการผลิต
ความแตกต่างในการใช้คำเมื่อเทียบกับคำว่าแก้วคือ กระจกจะใช้เรียกแก้วที่นำมาทำให้เป็นแผ่น โดยมีลักษณะแบนราบและมีความหนาประมาณหนึ่งเป็นส่วนใหญ่
กระจก เป็นลักษณะการผลิตวัสดุประเภทแก้วที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานต่างๆ เช่น เพื่อเป็นวัสดุกั้นขวางที่ไม่ทึบแสง ใช้เพื่อเป็นฉนวนกั้น ใช้เพื่อประดับตบแต่งอาคาร ฯลฯ ในบางความต้องการใช้ กระจก ถูกนำไปปรับคุณสมบัติต่อเพื่อให้มีคุณลักษณะบางอย่าง เช่น ฉาบปรอทที่ด้านๆหนึ่งเพื่อให้มีคุณสมบัติสะท้อนแสงเรียกว่า กระจกเงา หรือผสมสารชนิดอื่นลงไปในเนื้อสารให้มีสีสันหรือความทึบแสงบางส่วนหรือทั้งหมดเรียกว่า กระจกสี กระจกทึบ หรือกระจกควัน หรือนำไปพ่นทรายลงบนพื้นผิวเพื่อให้เกิดความไม่สม่ำเสมอของความเรียบบนผิวทำให้แสงผ่านได้แต่มีลักษณะมัวๆเรียกว่า กระจกฝ้า
เนื่องจากกระจกคือวัสดุประเภทแก้วซึ่งมีความโปร่งใสมากและยังมีค่าดรรชนีหักเหของแสงที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ จึงมีการนำไปสร้างเป็นวัสดุที่มีความหนาไม่สม่ำเสมอแต่มีลักษณะเฉพาะ เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า เลนส์ (lens) เช่น มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่เว้าเข้าตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์เว้า หรือเว้าเข้าด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า กระจกเว้า มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่ป่องออกตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์นูน หรือนูนออกด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า กระจกนูน ซึ่งเลนส์คือประเภทการผลิตวัสดุประเภทแก้วในรูปแบบของกระจกเพื่อการใช้งานในลักษณะของการหักเหแสงนั่นเอง
กระจก บางประเภทถูกนำไปประกอบสร้างแบบพิเศษ เช่น เคลือบเนื้อสารบางประเภทเช่นพลาสติกด้านเดียวหรือทั้งสองด้าน (เนื้อสารที่นำมาเคลือบเรียกว่าฟิล์ม) เพื่อให้ทึบแสงหรือเพื่อให้ไม่แตกร่วนหรือเพื่อให้เมื่อแตกแล้วไม่มีความคมคล้ายเมล็ดข้าวโพด เช่น กระจกรถยนต์ ฟิล์มบางประเภทที่นำมาเคลือบเช่น เคฟลาร์ มีลักษณะทางโครงสร้างเคมีที่สามารถกระจายแรงที่มากระทบด้านหน้าออกไปทางด้านข้างได้ จึงทำให้สามารถผลิตเป็นกระจกนิรภัย ที่สามารถทนทานต่อแรงกระแทกได้ และในบางกรณีการผลิตแบบเคลือบด้านนอก อาจปรับเป็นการผลิตแบบสอดไส้ข้างใน หรือ ผสมลงไปเป็นเนื้อเดียวกัน
ในบางกรณีกระจก อาจสร้างจากวัสดุที่มีความใสไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันกับแก้วแต่เป็นวัสดุประเภทอื่นไปเลย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามกระจก จะมีความหมายในลักษณะ ใส บาง เป็นแผ่น มีผิวราบเรียบอย่างมาก อาจหมายรวมไปถึง สะท้อนแสงได้ รวมหรือเบี่ยงเบนแสงได้ หรือ เป็นเงา เสมอๆ วัสดุประเภทกระจกนั้น หากมีค่าความยอมให้ผ่านของแสงมากจะเรียกว่า โปร่งใส หากมีค่าน้อยจะเรียกว่า โปร่งแสง และหากไม่มีค่าเลยจะเรียกว่า ทึบแสง
ความหมายโดยปริยายของกระจก มักจะหมายถึงกระจกเงา ถ้าพูดโดยไม่ระบุว่าเป็นกระจกใส เช่นในประโยคว่า "ส่องกระจกชะโงกดูเงา" (เพี้ยนมาจาก "ส่องกะโหลกชะโงกดูเงา" โดยกะโหลกคำนี้แปลว่ากะลา) หรือ "น้ำใสราวกับกระจก"
ประเภทของกระจก !!!
1.กระจกธรรมดา(Float Glass)
2.กระจกอบความร้อน(Heat Treated Glass)
3.กระจกเครือบผิวหรือกระจกสะท้อนแสง(Surface Coated Glass)
4.กระจกดัดแปลง(Processed Glass)
5.กระจกอื่นๆ
กระจกธรรมดา(Float Glass)
กระจกธรรมดาเป็นกระจกพื้นฐานที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตโดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ซึ่งมีรายละเอียด และข้อพิจารณา
ในการนำไปใช้งาน ดังนี้
1.กระจกใส(Clear Glass)
กระจกใสคือกระจกโปร่งแสงที่สามารถมองผ่านได้อย่างชัดเจนและให้ภาพสะท้อนที่สมบูรณ์ ไม่บิดเบี้ยว
คุณสมบัติ
1)สามารถมองเห็นจากภายนอกเข้ามาภายในได้อย่างชัดเจน
2)มีค่าการตัดแสงประมาณ 8% สำหรับกระจกใสหนา 12 มิลลิเมตร และตัดแสงได้มากขึ้นตามความหนาของกระจก
3)มีค่าการสะท้อนแสงประมาณ 7%
4)ผิวกระจกไม่ร้อน เพราะกระจกดูดกลืนความร้อนได้น้อยมาก
ข้อควรพิจณาในการใช้งาน
1)ยอมให้แสงผ่านเข้ามาได้มาก ทำให้ความร้อนเข้ามามากด้วย เมื่อคลื่นสั้น(0.3ไมโครเมตร)ผ่านกระจกใสเข้ามาภายในกระทบ
วัตถุหรือวัสดุภายในอาคารจะเปลี่ยนเป็นคลื่นยาว(3.3-50ไมโครเมตร)ซึ่งไม่สามารถผ่านออกไปภายนอกได้อีก ดังนั้นความร้อน
จะถูกกักเก็บไว้ ทำให้อากาศข้างในร้อนแล้วไม่สามารถระบายความร้อนออกไปได้ จนเมื่ออุณหภูมิภายในสูงกว่าภายนอกจึงจะ
มีการถ่ายเทความร้อนด้วยการนำ(Conduction)ออกสู่ภายนอก
2)สามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากภายนอก ซึ่งเหมาะกับการใช้งานประเภทแสดงสินค้า แต่อาจไม่เหมาะกับส่วนที่ต้องการความ
เป็นส่วนตัว เพราะคนภายนอกสามารถมองเห็นเข้ามาภายในได้อย่างชัดเจน
3)กระจกใส มีค่าการสะท้อนแสงน้อยจึงเหมาะสำหรับห้องที่ต้องการมองออกไปภายนอก เพราะสามารถมองเห็นภาพทิวทัศน์ได้
อย่างชัดเจน
2.กระจกสี (Tinted Glass)
ผลิตขึ้นโดยการผสมโลหะออกไซด์เข้าไปในส่วนผสม ในขั้นตอนการผลิตกระจก ทำให้กระจกมีสีสัน
คุณสมบัติ
1)ผิวกระจกร้อน เนื่องจากสีของเนื้อกระจกที่เกิดจากการเติมโลหะออกไซด์ต่างๆ เป็นตัวดูดความร้อน ทำให้ความร้อนจากกระจก
แผ่เข้ามาภายในอาคาร
2)ตัดแสงไม่ให้เข้ามาภายในอาคารมาก กระจกสีมีค่าสัมประสิทธิ์เปรียบเทียบการบังแดดต่ำกว่ากระจกใสมาก เมื่อค่าสัมประสิทธิ์
การบังแดดต่ำมากๆ แสงเข้าน้อยทำให้ความร้อนเข้ามาได้น้อยด้วย
3)สามารถ สกัดกั้นความร้อนจากแสงอาทิตย์ ที่ตกกระทบกระจกสีได้มากกว่ากระจกใส ปริมาณการดูดกลืนความร้อนขึ้นอยู่กับ
ส่วนผสมของเนื้อกระจก ซึ่งสามาถผลิตให้มีการสกัดกั้นรังสีอาทิตย์ได้หลายระดับ แต่ผิวกระจกจะร้อนขึ้นเมื่อมีการสกัดกั้นรังสี
มาก
4)ช่วยลดความจ้าของแสงที่ส่งผ่านกระจกสีทำให้ได้แสงที่นุ่มนวลและเกิดความสบายตาในการมอง
ข้อควรพิจณาในการใช้งาน
1)ไม่ควรให้ลมเย็นจากเครื่องปรับอากาศเป่ากระทบผิวหน้าของกระจกโดยตรง เพราะจะทำให้กระจกสูญเสียพลังงานมาก
2)ไม่ควรติดผ้าม่านที่มีความหนาทึบ หรือวางตู้เหล็ก หรือสิ่งของอื่นๆ ชิดกับกระจก หรือติดตั้งปิดบังกระจกโดยไม่มีการถ่ายเท
ความร้อน เพราะอาจทำให้กระจกสะสมความร้อนเพิ่มขึ้น และเป็นสาเหตุให้กระจกสีแตกร้าวได้ง่าย
3)ไม่ควรทาสีหรือติดแผ่นกระดาษใดๆลงบนผิวกระจก
4)ควรจะต้องมีการตัดหรือฝนขอบกระจกให้เรียบ เพื่อทำให้ขอบกระจกมีความทนทานต่อการแตกร้าวจากแรงดึงและแรงเค้นที่
ผิวและขอบของกระจก
กระจกอบความร้อน (Heat Treated Glass)
กระจกอบความร้อนหรือกระจกสีที่นำไปผ่านกระบวนการปรับแต่งคุณภาพของเนื้อกระจก เพื่อให้มีความเข็งแกร่งมากขึ้น หรือรับ
แรงกระทำจากแรงภายนอกได้มากขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ชนิดดังนี้
1)กระจกนิรภัยเทมเปอร์(Tempered Glass)
กระจกนิรภัยเทมเปอร์ เป็นการนำกระจกไปผ่านกระบวนการเทมเปอริง(Tempering)เพื่อเพิ่มความแข็งแรง โดยใช้หลักการเดียว
กับการทำคอนกรีตอัดแรง คือสร้างให้เกิดชั้นของแรงอัดขึ้นที่ผิวแก้วเพื่อตต้านแรงจากภายนอก วิธีการนี้ทำได้โดยการให้ความ
ร้อนกับกระจกที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดอ่อนตัวของแก้วเล็กน้อยที่ประมาณ 650-700องศาเซลเซียส และทำให้ผิวกระจกเกิดความเย็น
ตัวอย่างรวดเร็ว โดยใช้ลมเย็นเป่า ผลของความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างผิวนอกกับส่วนกลางของแผ่นกระจกจะทำให้เกิด
ชั้นของแรงอัดขึ้นที่ผิวของกระจกทั้ง 2 ด้าน โดยจะประกบชั้นส่วนกลางเหมือนลักษณะแซนวิช และชั้นที่ผิวนี้จะต้านแรงจากภาย
นอกทำให้กระจกที่ผ่านกระบวนการเทมเปอริงแล้วมีความแข็งแรงขึ้นประมาน 4 เท่า
คุณสมบัติ
1)ค่าความแข็งแรงต่อแรงดึงและแรงที่ทำให้หักงอ(Bending Strenth)เมื่อเปรียบเทียบกระจกธรรมดากับกระจกนิรภัยเทมเปอร์ที่
มีความหนา 5 มิลลิเมตร กระจกธรรมดามีค่าความแข็งแรงต่อแรงดึงและแรงที่ทำให้กระจกหักงอ 500-650กิโลกรัม/ตารางเซนติ
ิเมตร ในกระจกนิรภัยเทมเปอร์มีค่าสูงถึง1,500 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร
2)การต้านทานน้ำหนัก(Loading Resistance)คือความต้านทานต่อแรงดันและแรงกระแทกโดยแบ่งออกเป็น
-การด้านทานน้ำหนักหรือสถิติ (Static Load Resistance)คือแรงที่มากระทบกระจก กระจกนิภัยเทมเปอร์สามารถทนต่อแรงกระ
ทบ ได้มากกว่ากระจกธรรมดาที่มีความหนาเดียวกันประมาณ 3-5 เท่า
-การต้านทานน้ำหนักกระแทก(Impact Load Resistance)คือความทนทานของกระจกต่อแรงกระแทกโดยทั่วไปกระจกนิภัยเทม
เปอร์สามารถรับแรงกระแทกได้ดีได้ดีกว่ากระจกธรรมดาประมาณ 4 เท่า
3)ความปลอดภัยคือ การลดอันตรายที่จะเกิดจากการโดนกระจกบาด เพราะการแตกของกระจกนิภัย จะแตกออกเป็นเม็ดเล็กๆ
และมีความคมน้อย
4)การต้านทานความร้อน(Heat Resistance) คือความทนทานของกระจกต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอุณภูมิแบบทันทีทันใด
จากการทดสอบความสามารถในการต้านทานความร้อนของกระจกนิภัยเทมเปอร์เปรียบเทียบกับกระจกธรรมดาที่มีความหนา
5 มิลเมตรเท่ากัน มีผลการทดสสอบดังต่อไปนี้
-กระจกนิภัยเทมเปอร์สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ที่ค่าความแตกต่างของอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 170 องศาเซล
เซียส และจะเริ่มแตกทั้งหมดเมื่ออุณหภูมิสูงถึงประมาณ 220 องศาเซลเซืยส
-กระจกธรรมดาสามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ที่ค่าความแตกต่างของอุณหภูมิเพียงประมาณ 60 องศาเซลเซียส
และจะแตกทั้งหมดเมื่อค่าความแตกเมื่อค่าของอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงประมาณ 100 องศาเซลเซียส
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)จุดอ่อนของกระจกนิรภัยเทมเปอร์คือ แรงที่กระทำเป็นจุด หากมีการกระแทกโดยวัตถุที่มีมุมแหลม ซึ่งทำให้เกิดการตัดลึกเข้า
ไปภายในผิวกระจก ทำให้ชั้นแรงอัดถูกทำลาย ความสมดุลภายในเนื้อกระจกก็จะถูกทำลาย
2)กระจกนิรภัยเทมเปอร์สามารถคงรูปร่างได้ด้วยความสมดุลของแรงอัดและแรงดึง ดังนั้นเมื่อนำกระจกชนิดนี้มาใช้งานจะต้อง
ไม่มีการเจาะรู บากหรือตัดแต่งในภายหลังโดยเด็ดขาด
3)ส่วนของกระจกนิภัยเทมเปอร์ที่มีการเจาะรู พ่นทราย หรือทำเครื่องหมายใดๆจะมีความเปราะบางมากกว่าส่วนอื่นๆ
4)ไม่ควรยึดกระจกกับโลหะโดยตรง ควรมียางหรือวัตถุอื่นมารองรับ
5)ผิวกระจกนิรภัยเทมเปอร์จะเป็นคลื่นมากกว่ากระจกธรรมดา
กระจกฮีตสเตรงเทน(Heat Strengthen Glass)
กระจกฮีตสเตรงเทน เป็นกระจกที่ได้จากกระบวนการผลิตที่คล้ายกับกระจกนิภัยเทมเปอร์ แต่ต่างกันที่กระจกฮีตสเตรงเทนจะ
ปล่อยให้กระจกเย็นตัวลงอย่างช้าๆ จึงมีความแข็งแรงกว่ากระจกนิภัยเทมเปอร์
คุณสมบัติ
1)เป็นกระจกกึ่งนิรภัย มีคุณสมบัติพิเศษคือ แข็งแกร่งกว่ากระจกธรรมดาประมาณ 2 เท่า
2)เหมาะสำหรับการป้องกันการแตกของกระจกจากความร้อน
3)ลักษณะการแตกของกระจกชนิดนี้ จะแตกเป็นแผ่นเหมือนกระจกธรรมดา
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)ในการติดตั้งกระจกกับโครงสร้างอาคารสูงสามารถใช้แทนกระจกธรรมดาโดยลดความหนาของกระจกลง
2)ใช้กับสถานที่ที่ต้องเผชิญกับภาวะที่มีความร้อนสูงกว่าปกติ
3)ใช้กับผนังอาคารและหน้าต่างที่มีแรงอัดลมสูง
4)ใช้กับสถานที่ที่ต้องการใช้กระจกที่มีความแข็งแรงและปลอดภัยสูงกว่าการใช้กระจกธรรมดา
5)ใช้กับห้องโชว์ หรือตู้โชว์สินค้าที่ต้องทนต่อแรงกระแทกในการใช้งาน
กระจกเคลือบผิว เป็นกระจกธรรมดาที่นำไปผ่านกระบวนการเคลือบโลหะบนผิวกระจก เพื่อให้เกิดการสะท้อนแสง และความร้อน
จากแสงอาทิตย์ สำหรับนำไปใช้งานในด้านการประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแบ่งตามรูปแบบของการเคลือบ
ผิวได้เป็น 2 ชนิดได้แก่
1.แบ่งตามบริษัทผู้ผลิตเครื่องเคลือบผิวกระจกที่ใช้ในเมืองไทยได้ 2 แบบ
1.1แบบแอร์โค่(AIRCO)เป็นวิธีการเคือบโดยใช้ไทเทเนียมบริสุทธิ์เป็นโลหะในการเคลือบ สามารถเคลือบให้ได้สีสัน ภาพลักษณ์
และคุณสมบัตในการประหยัดพลังงานที่แตกต่างกันตามชื่อรหัสการเคลือบต่างๆดังต่อไปนี้
TE-Titanium Earth
TS-Stell Blue
SS-Silver
TBU-Blue
1.2แบบเลย์โบลด์(LEYBOLD)เป็นวิธีการเคลือบโดยใช้ดีบุกบริสุทธิ์เป็นโลหะในการเคลือบโดยมีคุณสมบัติในการประหยัด
พลังงานใกล้เคียงกับแบบแอร์โค่ แต่ให้สีสันที่แตกต่างกันออกไปจากแบบแอร์โค่ ตามชื่อรหัสการเคลือบต่างๆดังต่อไปนี้
SL-Silver
AS-Antigue Silver
BR-Bronze
SB-Sapphire Blue
2.แบ่งตามเทคนิคในการเคลือบผิวกระจกได้ 2 แบบดั้งนี้
2.1การเคลือบแบบสูญญากาศ(VacuomDepositionorSoftCoating)โดยการพ่นโลหะออกไซด์บางชนิดบนผิวด้านใด
ด้านหนึ่งของผิวกระจกกระแสไฟฟ้าจะทำปฏิกิริยาทำให้โลหะเกาะผิวกระจกการเคลือบด้วยวิธีนี้สารที่เคลือบจะถูกขูดขีดออก
ได้ง่าย แต่สามารถเคลือบไปได้ทั่วทุกอนูของผิวกระจก
2.2การเคลือบแบบไพโรลิทิค(Pyrolitic Deposition or Hart Coating)กรรมวิธีนี้กระจกจะถูกเคลือบในลักษณะที่เป็นของเหลว
โลหะออกไซด์จะกระจายแทรกซึมลงในเนื้อกระจกด้วย แม้วิธีนี้โลหะออกไซด์ไม่สามารถกระจายไปทุกพื้นผิวของกระจกอย่าง
สม่ำเสมอกันแต่ก็มีความแข็งแรงทนทานกว่ากระจกที่เคลือบแบบสูญญากาศ
กระจกเคลือบผิว(Surface Coated Glass)
กระบวนการเคลือบแบบสูญญากาศ
-เป็นกระบวนการเคลือบกระจกแบบออฟไลน์(off-line) แยกจากกระบวนการผลิตกระจกแผ่น
-ในกรณีที่ต้องการทำเป็นกระจกนิรภัยเทมเปอร์หรือ กระจกฮีตสเตรงเทนต้องทำก่อนที่จะนำกระจกไปเคลือบ
-สีของกระจกเคลือบมีให้เลือกมากมาย เนื่องจากโลหะออกไซด์ที่ใช้เคลือบมีมากชนิด
-การติดตั้งควรนำด้านที่เคลือบไว้ในตัวอาคาร-ทนต่อรอยขีดข่วนได้น้อยกว่า
-อายุการจัดเก็บกระจกสั้นกว่ากระบวนการเคลือบแบบไพโรลิทิค
-เป็นการเคลือบกระจกแบบออนไลน์(on-line)ทำการเคลือบกระจกอยู่ภายในกระบวนการผลิตกระจกแผ่น
-สามารถนำกระจกที่เคลือบแล้วไปผ่านกระบวนการผลิตกระจกนิรภัยเทมเปอร์หรือกระจกฮีตสเตรงเทนได้
-สีของกระจกมีให้เลือกน้อยเนื่องจากโลหะออกไซด์มีจำกัด
-การติดตั้งสามารถนำด้านที่เคลือบออกภายนอก หรือหันหน้าเข้าด้านไหนก็ได้
-ความทนต่อรอยขีดข่วนมากกว่า
คุณสมบัติของกระจกเคลือบผิว กับการประหยัดผลังงาน
1)กระจก ที่เลือกใช้ ควรให้มีค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และความร้อนที่ได้รับจากการสะท้อนแสง รวมทั้งค่าสัมประสิทธิ์
การบังแดดที่น้อยที่สุดที่สามารถยอมรับได้
2)กระจกเคลือบผิว ที่มีปริมาณการสะท้อนแสงสูงกว่า จะสามารถประหยัดพลังงานได้ดีกว่ากระจกที่มีปริมาณการสะท้อนแสง
น้อยกว่า
วิธีการตรวจสอบคุณภาพของกระจกเคลือบผิว
1)ตรวจสอบรูบนผิวกระจกเคลือบ การตรวจสอบต้องให้กระจกที่จะตรวจสอบอยู่ห่างจากจุดสังเกต 1.80 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์
กลางของรูบนผิวเคลือบจะต้องมีขนาดไม่ใหญ่กว่า 1.50 มิลลิเมตร ในกรณีที่เป็นกลุ่มของรูบนผิวเคลือบที่มีขนาดเล็กกว่าที่กำหนด
อาจยอมให้มีได้ แต่ต้องไม่สามารถสังเกตเห็นได้ชัดจากระยะสังเกตที่กำหนดไว้
2)การตรวจสอบการสะท้อนแสงและการส่งผ่านของแสง
-ความสม่ำเสมอของผิวเคลือบ การตรวจสอบจะต้องให้กระจก ที่ทำการตรวจสอบอยู่ห่างจากผู้สังเกต 3 เมตร ตามมาตรฐานยอม
ให้มีความไม่สม่ำเสมอของผิวเคลือบได้บ้าง
-การเป็นคลื่นบนผิวสะท้อนสืบเนื่องจากปัจจัยหลายประการโดยเฉพาะกระจกเคลือบผิว ที่เป็นกระจกฉนวนกันความร้อน กระจก
ฮีตสเตรงเทน และกระจกนิภัยเทมเปอร์ การเป็นคลื่นอันเกิดจากการมองเห็นจะไม่ถือว่าเป็นตำหนิของกระจก
วิธีตรวจสอบด้านเคลือบของกระจกเคลือบผิว
สำหรับวิธีการตรวจสอบว่าด้านใดของกระจกเคลือบผิวเป็นด้านที่เคลือบฟิล์มสามารถทำได้ดังนี้
1)ใช้วัสดุทึบแสงวางทำมุมเฉียงประมาณ 45 องศา บนผิวกระจก
2)สังเกตเงาที่เกิดขึ้นบนกระจกเคลือบผิว ถ้าวัตถุทึบแสงปรากฎเงาที่เห็นเป็นเงาเดียวจะเป็นด้านที่เคลือบสารสะท้อนรังสีอาทิต
ถ้าเงาที่เห็นเป็นสองเงาจะเป็นด้านที่ไม่ได้เคลือบ
กระจกเคลือบผิว แบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่ กระจกสะท้อนรังสีอาทิตย์ และกระจกที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำ
กระจกสะท้อนรังสีอาทิตย์(Solar Reflective Glass)
กระจกสะท้อนรังสีอาทิตย์เป็นกระจกธรรมดาที่เคลือบด้วยโลหะออกไซด์ มีค่าการสะท้อนแสงค่อนข้างสูง ความโปร่งแสงค่อน
ข้างน้อย มีสีสันสวยงามหลายสีที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรูปแบบการเคลือบ และสีของกระจกที่เป็นวัตถุดิบที่นำมาเคลือบ
คุณสมบัติ
1) ทำให้แสงอาทิตย์และรังสีความร้อนผ่านเข้ามาในอาคารได้น้อย
2)ช่วยลดแสงที่แรงจ้าให้นุ่มนวลลง ทำให้เกิดความสบายตา
3)สร้างความเป็นส่วนตัวแก่คนภายในอาคาร เนื่องจากมองทะลุเข้ามาในตัวอาคารได้ลำบาก
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)ในการตัดกระจกควรมีการป้องกันผิวด้านที่เคลือบไว้เพื่อป้องกันรอยขีดข่วน
2)เมื่อมีการบิ่นหรือแตกบริเวณขอบกระจกให้ลบคมให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันการแตกทั้งแผ่น
3)ป้องกันอย่าให้ซีเมนต์หรือปลาสเตอร์ติดบนกระจก เพราะจะทำอันตรายวัสดุเคลือบของกระจก
4)ด้านที่เคลือบวัสดุเคลือบควรอยู่ด้านในของอาคารเสมอ เพื่อไม่ให้วัสดุเคลือบสัมผัสมลภาวะภายนอก
5)อย่าเป่าความเย็นลงบนกระจกวางตู้ใกล้กระจกติดกระดาษหรือทาสีลงบนกระจกเพราะจะทำให้เกืดการแตกหักเนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้
6)ควรจะอบฮีตสเตรงเทนหรือเทมเปอร์ เพื่อป้องกันปัญหาการแตกหักเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้
กระจกที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำ
กระจกที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำ เป็นกระจกเคลือบสารโลหะโดยมีโลหะเงินบริสุทธิ์เป็นองค์ประกอบสำคัญ
คุณสมบัติ
1)ป้องกันการถ่ายเทความร้อนผ่านกระจกได้ดี
2)ยอมให้แสงผ่านได้มากกว่ากระจกสะท้อนแสง
3)ช่วยสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลต(UV)ได้บางส่วน ปริมาณการสะท้อนขึ้นอยู่กับผู่ผลิต ทำให้ลดความเสียหาย ซึ่งอาจเกิดกับพรม
และเฟอร์นิเจอร์ต่างๆได้ระดับหนึ่ง
4)ช่วยลดความจ้าของแสง
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)สารที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำเป็นสารที่ไวต่อการเสียหาย ดังนั้นจึงไม่ควรหันผิวกระจกด้านที่ฉาบนี้ไว้ด้านนอก
2)การบรรจุกาซเฉื่อยในช่องว่างระหว่างกระจกของกระจกรุ่นใหม่ๆแทนการใช้อากาศแห้ง จะช่วยเพิ่มความเป็นฉนวนให้กับกระ
จกได้ดี
กระจกดัดแปลง (Processed Glass)
กระจกดัดแปลงเป็นกระจกที่นำมาดัดแปลงด้วยกระบวนการต่างๆเพื่อตอบสนองการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่
1.กระจกฉนวนกันความร้อน(Insulated Glass)
กระจกฉนวนกันความร้อน ผลิตโดยการนำกระจกอย่างน้อย 2 แผ่น ตัดให้ได้ขนาดตามต้องการมาประกบกันโดยมีอลูมิเนียมซึ่ง
บรรจุสารดูดซึมความชื้นคั่นกลาง หลังจากนั้นจะปิดรอยที่ขอบกระจก ผลก็คือ อากาศภายในช่องระหว่างกระจกจะกลายเป็นอา
กาศที่แห้งไม่มีความชื้นเหลืออยู่ ซึ่งมีคุณสมบัติในการกันความร้อน
คุณสมบัติ
1)ป้องกันการถ่ายเทความร้อนจากภายนอกเข้ามาในอาคาร ทำให้ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศ
2)ช่วยลดเสียงรบกวนจากภายนอกอาคารได้ดีกว่ากระจกธรรมดา
3)สามารถปรับแรงดันลมได้เพิ่มขึ้น
4)ให้ความปลอดภัยในอาคารในกรณีที่ใช้กระจกนิภัยเทมเปอร์ หรือกระจกนิรภัยหลายชั้นมาผลิตเป็นกระจกฉนวนกันความร้อน
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)ควรใช้ซิริโคนสำหรับกระจกที่เป็นโดครงสร้างเท่านั้น ส่วนกระจกที่เป็นช่องหน้าต่างแบบดั้งเดิม สามารถใช้โพลีซัลไฟด์ซิลิโคนได้
2)การหักงอของอลูมิเนียมสเปเซอร์ หรือสารเคมีที่ใช้ในการเชื่อมต่อกระจก มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของกระจกทั้งสิ้น
2.กระจกฮีตมิเรอร์(Heat Mirror)
ลักษณะของกระจกฮีตมิเรอร์เป็นระบบของกระจกสองชั้นที่เคลือบสารที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำทั้ง 2 ด้านของฟิล์มที่อยู่ระหว่าาง
ช่องอากาศ โดยที่ช่องว่างอากาศทั้งสองข้างจะกลายเป็นช่องว่างอากาศสะท้อนรังสี
คุณสมบัติ
1)สามารถสะท้อนความร้อนออกไปจากกระจกได้มากถึงประมาณ 80% หรือยอมให้ความร้อนส่งผ่านเข้ามาเพียง 10% ที่เหลือ
อยู่ 10% จะถูกดูดกลืนเข้าไปในกระจก
2)ยอมให้แสงสว่างผ่านเข้ามาได้ดี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้องค์ประกอบของกระจกและฟิล์ม
3)ป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลต โดยสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตประมาณ 98%
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)ต้องระวังไม่ให้วัสดุยาแนวเกิดความเสียหาย มิฉะนั้นความชื้นอาจแทรกซึมเข้าไปทำให้กระจกเสื่อมประสิทธิภาพได้
2)ในการติดตั้งระมัดระวังผลกระทบจากรังสีอัลตราไวโอเลต เนื่องจากจะทำให้วัสดุยาแนวเสื่อมสภาพได้
3)ไม่สามารถปรับแต่งขนาดของกระจกภายหลังประกอบได้ ดังนั้นจะต้องวัดและตัดให้ได้ขนาดตรงกับการนำไปใช้เท่านั้น
4)การติดตั้งควรระมัดระวังไม่หันกระจกผิดด้านเพราะจะทำให้คุณสมบัติของกระจกต่ำลง
กระจกฮีตสต็อป(Heat Stop)
กระจกฮีตสต็อปมีลักษณะเป็นกระจกสองชั้นประกอบขึ้นด้วยกระจกสะท้อนแสงที่เคลือบด้วยสารที่มีสภาพการแผ่รังสีต่ำเป็นกระ
จกด้านนอก และด้านในใช้กระจกใส สารที่เคลือบนั้น สามารถป้องกันความร้อนอินฟาเรดให้ผ่านเข้ามาได้เพียง 5% ช่องว่างตรง
กลางใส่ก๊าซอาร์กอน
คุณสมบัติ
1)สามารถสะท้อนความร้อนออกไปจากกระจกได้มาก
2)ยอมให้แสงสว่างผ่านกระจกเข้ามามากถึงประมาณ 60%
3)ป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลต โดยสะท้อนรังสีอัลตร้าไวโอเลตได้ประมาณ 95 %
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)ต้องระวังไม่ให้วัสดุยาแนวเกิดความเสียหาย มิฉะนั้นความชื้นอาจแทรกซึมเข้าไปทำให้กระจกเสื่อมประสิทธิภาพได้
2)ไม่สามารถปรับแต่งขนาดของกระจกภายหลังประกอบได้
3)การติดตั้งไม่ควรหันกระจกผิดด้านเพราะจะทำให้คุณสมบัติของกระจกต่ำลง
4.กระจกนิรภัยหลายชั้นเป็นการนำกระจกตั้งแต่ 2 แผ่นขึ้นไป มาผนึกเข้าด้วยกัน โดยมีแผ่นฟิล์มโพลีไวนิลนิวทิเรต ที่เหนียวและ
แข็งแรงซ้อนอยู่ระหว่างกลาง ทำหน้าที่ยึดกระจกให้ติดกัน เมื่อกระจกชนิดนี้ถูกกระแทกจนแตก แผ่นฟิล์มโพลีไวนิลบิวทิเรตจะ
ช่วยยึดไม่ให้เศษกระจกหลุดกระจาย จะมีเพียงรอยแตกหรือรอยร้าวคล้ายใยแมงมุมเท่านั้น
คุณสมบัติ
1)การใช้กระจกนิรภัยหลายชั้น สามารถช่วยลดการบาดเจ็บจากกระจกได้
2)ป้องกันการทะลุทะลวง เนื่องจากการแตกและการบุกรุกได้
3)ช่วยลดเสียงรบกวน และลดการก้องของเสียงได้ดี
4)ช่วยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ
5)แผ่นฟิล์มในกระจกนิรภัยหลายชั้นช่วยในการลดรังสีอัลตราไวโอเลต
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)เนื่องจากฟิล์มโพลีไวนิลบิวทิเลต มีคุณสมบัตในการอมความร้อน ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดปัญหาการแตกร้าว เนื่องจากการ
สะสมความร้อน จึงไม่ควรเลือกกระจกต่อไปนี้เข้ามาผนึกเข้าด้วยกัน
-กระจกสีตัดแสงผนึกกับกระจกสีตัดแสง
-กระจกสีตัดแสงเสริมลวดผนึกกับกระจกแผ่นเรียบ
-กระจกสะท้อนแสงผนึกกับกระจกเสริมลวด
2)มีความแข็งแรงต่อแรงอัดของลมน้อยกว่ากระจกธรรมดาที่ความหนาเท่ากัน
3)เมื่อนำกระจกนิภัยเทมเปอร์มาผนึกเข้าด้วยกันควรใช้แผ่นฟิล์มที่ความหนาไม่ต่ำกว่า 0.7 มิลิเมตรเป็นตัวยึดกระจก เพื่อป้อง
กันการเกิดฟองอากาศเนื่องจากผิวกระจกไม่เรียบ
4)ไม่ควรใช้วัสดุยาแนวชนิดซิลิคอน ออกไซด์ หรือวัสดุยาแนวที่มี่สวนผสมของสารละลายอืนทรีย์เนื่องจากจะทำให้เกิดผลเสีย
ต่อฟิล์ม
5) ควรมีการเคลือสารกันน้ำ บริเวรขอบกระจก เพื่อป้องกันความเสียหายของแผ่นฟิล์ม
6)เมื่ออุณหภูมิของกระจกนิภัยหลายชั้นเพิ่มสูงขึ้นไปถึงระดับหนึ่งคือ 170 องศาฟาเรนไฮต์ การสะสมความร้อนภายในจะสูงขึ้น
ความสามารถของฟิล์มในการยึดเกาะกระจกจะลดลง
กระจกอื่นๆ
1.กระจกเงา(Mirror)
กระจกเงาที่ดีควรผลิตจากกระจกใส และมีคุณภาพสูง จึงจะให้ภาพที่แจ่มชัดเหมือนจริงไม่บิดเบี้ยวหลอกตา ผ่านกรรมวิธีเคลือบ
เงาด้วยเครื่องจักร 4 ขั้นตอนคือ
1)เครือบวัสดุเงิน(Silvery Coating)
2)เคลือวัสดุทองแดงบริสุทธิ์(Pure Copper Coating)
3)เคลือบวัสดุอย่างดีชั้นแรก(1 st Layer High Quality Colour Coating)
4)เคลือบวัสดุอย่างดีชั้นที่ 2(2 st Layer High Quality Colour Coating)
คุณสมบัติ
1)เหมาะสำหรับการตกแต่งภายใน โดยเฉพาะกระจกเงาใสซึ่งจะให้บรรยากาศภายในห้องที่สดใส
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)เหมาะสำหรับงานตกแต่งภายใน ทำให้มีบรรยากาศที่น่าสนใจ
2)หากจัดวางอย่างมีแบบแผน จะสามารถสะท้อนภาพของพื้นที่ได้หลายรูปแบบช่วยเพิ่มพื้นที่สายตาและลดความคับแคบของ
ห้องได้
2.กระจกลวดลาย(Pattern Glass)
กระจกลวดลาย ผลิตโดยกระจกที่ยังไม่แข็งตัวเข้าไปสู่แถวของลูกกลิ้ง เพื่อให้ได้ความหนาที่ต้องการ และพิมลวดลายซึ่งติดกับ
ลูกกลิ้งลงบนผิวด้านใดด้านหนึ่งของกระจก หรือทั้ง 2 ด้าน
คุณสมบัติ
กระจกลวดลายมีคุณสมบัติโปร่งแสงแต่ไม่โปร่งใส จึงทำให้เกิดภาพที่นุ่มนวล แต่อาจไม่ชัดเจนนัก
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)เนื่องจากกระจกลวดลาย มีความลึกของเนื้อกระจกไม่สม่ำสมเอกัน จึงไม่เหมาะที่จะนำมาผลิตเป็นกระจกนิภัยเทมเปอร์
2)ความแข็งแรงและความคงทนของกระจกมีน้อยกว่า 1 ใน 3 ของกระจกใสที่มีความหนาเดียวกัน เนื่องจากความไม่เรียบของ
กระจก
3.กระจกเสริมลวด (Wired Glass)
กระจกเสริมลวดผลิตโดยการใส่แผงตาข่ายลวดลงในกระจกขณะที่กระจกหลอมเหลว เพื่อเป็นการเพิ่มการแข็งแรงให้กับกระจก
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ตามลวดลายของแบบตาข่ายดังนี้
1)ลายข้าวหลามตัด(Diamond-Shaped Pattern or Misco)
2)ลายสี่เหลี่ยม(Baroque Pattern)
3)ลายหกเหลี่ยม(Hexagonal Pattern)
4)ลายแนวตั้ง(Pinstipe Pattern)
คุณสมบัติ
1)มีความแข็งแรงทนทานเป็นพิเศษ จึงมักใช้เป็นกระจกป้องกันการโจรกรรม
2)แตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ มีความคม
ข้อควรพิจารณาในการใช้งาน
1)เนื่องจากกระจกเสริมลวด จะแตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ ที่มีความคม เหมาะสำหรับการใช้งานภายในอาคาร หรือในต่ำแหน่งที่อาจ
ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้อยู่อาศัยและคนทั่วไปได้
2)กระจกเสริมลวด เป็นกระจกที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันการโจรกรรม ดังนั้นจึงไม่เน้นการออกแบบเพื่อความสวยงาม
บริการของเรา กั้นห้องกระจกอะลูมิเนียม
- รับติดตั้งประตูกระจก กั้นห้องกระจกอะลูมิเนียม ติดตั้งกระจกอลูมิเนียมทุกชนิด
-รับติดตั้งกระจกอลูมิเนียมประตู หน้าต่าง บานเลื่อน บานสวิง บานกะทุ้ง บานตาย บานเปิด บานพับ บานเปิดหน้าต่าง
-ติดตั้งกระจกบากระจกร้านค้า กระจกอาคารพานิชย์ กระจกคอนโด กระจกกั้นห้องติดแอร์
-รับติดตั้งประตูอลูมิเนียม บานแขวน บานเฟี้ยม บานกระทุ้ง กั้นห้องกระจก งานกระจกอลูมิเนียมทุกชนิด
-รับออกแบบและติดตั้งงานกระจกอลูมิเนียมทุกชนิด
-งานกั้นห้องกั้นแอร์ในพื้นที่
-ช่างติดตั้งกระจกบานประตู หน้าต่าง
-บานเลื่อน 2 บานสลับ,บานเลื่อน 4 บาน
-บานเฟี้ยมกั้นห้อง กั้นครัว. กั้นแอร์ในคอนโด
-รับติดตั้งประตูบ้านกระจกทุกชนิด ช่างกระจกอลูมิเนียม รับติดตั้งกระจกอลูมิเนียม ประตู หน้าต่าง บานเลื่อน บานสวิง บานกะทุ้ง บานตาย บานเปิด บานพับ บานเปิดหน้าต่าง
-รับติดตั้งงานกระจกอลูมิเนียม ประตูหน้าต่างอลูมิเนียม หน้าต่างบานกระทุ้ง และ หน้าต่างบานเปิดข้าง กระจกเปลือยฟิตติ้ง กระจกห้องน้ำ
ช่างกั้นห้องกระจกนครพนม
ช่างกั้นห้องกระจกบึงกาฬ
ช่างกั้นห้องกระจกสกลนคร
ช่างกั้นห้องกระจกมุกดาหาร
ช่างกั้นห้องกระจกอุบลราชธานี
ช่างกั้นห้องกระจกหนองคาย
ช่างกั้นห้องกระจกอำนาจเจริญ
ช่างกั้นห้องกระจกหนองบัวลำภู
ช่างกั้นห้องกระจกศรีสะเกษ
ช่างกั้นห้องกระจกอุดรธานี
ช่างกั้นห้องกระจกยโสธร
ช่างกั้นห้องกระจกเลย
ช่างกั้นห้องกระจกกาฬสินธุ์
ช่างกั้นห้องกระจกร้อยเอ็ด
ช่างกั้นห้องกระจกหาสารคาม
ช่างกั้นห้องกระจกสุรินทร์
ช่างกั้นห้องกระจกขอนแก่น
ช่างกั้นห้องกระจกอำนาจเจริญ
ช่างกั้นห้องกระจกบุรีรัมย์
ช่างกั้นห้องกระจกชัยภูมิ
ช่างกั้นห้องกระจกโคราชนครราชสีมา
ช่างกั้นห้องกระจกเชียงใหม่
ช่างกั้นห้องกระจกเพชรบูรณ์
ช่างกั้นห้องกระจก-เชียงราย
ช่างกั้นห้องกระจกแม่ฮ่องสอน
ช่างกั้นห้องกระจกพะเยา
ช่างกั้นห้องกระจกลำพูน
ช่างกั้นห้องกระจกน่าน
ช่างกั้นห้องกระจกลำปาง
ช่างกั้นห้องกระจกพิษณุโลก
ช่างกั้นห้องกระจกแพร่
ช่างกั้นห้องกระจกอุตรดิตถ์
ช่างกั้นห้องกระจกตาก
ช่างกั้นห้องกระจกกำแพงเพชร
ช่างกั้นห้องกระจกพิจิตร
ช่างกั้นห้องกระจกนครสวรรค์
ช่างกั้นห้องกระจกอุทัยธานี
ช่างกั้นห้องกระจกชัยนาท
ช่างกั้นห้องกระจกลพบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกสิงห์บุรี
ช่างกั้นห้องกระจกสุโขทัย
ช่างกั้นห้องกระจกปราจีนบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกสระบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกนครนายก
ช่างกั้นห้องกระจกนครปฐม
ช่างกั้นห้องกระจกอ่างทอง
ช่างกั้นห้องกระจกราชบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกสุพรรณบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกอยุธยา
ช่างกั้นห้องกระจกสมุทรสงคราม
ช่างกั้นห้องกระจกสมุทรปราการ
ช่างกั้นห้องกระจกสมุทรสาคร
ช่างกั้นห้องกระจกสระแก้ว
ช่างกั้นห้องกระจกตราด
ช่างกั้นห้องกระจกจันทบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกระยอง
ช่างกั้นห้องกระจกชลบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกฉะเชิงเทรา
ช่างกั้นห้องกระจกเพชรบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกชุมพร
ช่างกั้นห้องกระจกระนอง
ช่างกั้นห้องกระจกสุราษฎร์ธานี
ช่างกั้นห้องกระจกนครศรีธรรมราช
ช่างกั้นห้องกระจกพังงา
ช่างกั้นห้องกระจกกระบี่
ช่างกั้นห้องกระจกตรัง
ช่างกั้นห้องกระจกพัทลุง
ช่างกั้นห้องกระจกภูเก็ต
ช่างกั้นห้องกระจกสงขลา
ช่างกั้นห้องกระจกคลองตัน
ช่างกั้นห้องกระจกจรัญสนิทวงศ์
ช่างกั้นห้องกระจกดาวคะนอง
ช่างกั้นห้องกระจกดินแดง
ช่างกั้นห้องกระจกธนบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกนวนคร
ช่างกั้นห้องกระจกนวลจันทร์
ช่างกั้นห้องกระจกบางนา
ช่างกั้นห้องกระจกปทุมวัน
ช่างกั้นห้องกระจกประชาชื่น
ช่างกั้นห้องกระจกประตูน้ำ
ช่างกั้นห้องกระจกปิ่นเกล้า
ช่างกั้นห้องกระจกพระราม 2
ช่างกั้นห้องกระจกพระราม 9
ช่างกั้นห้องกระจกเพชรเกษม
ช่างกั้นห้องกระจกรัชดาภิเษก
ช่างกั้นห้องกระจกรัชโยธิน
ช่างกั้นห้องกระจกรามคำแหง
ช่างกั้นห้องกระจกวังหิน
ช่างกั้นห้องกระจกวัชพล
ช่างกั้นห้องกระจกสะพานควาย
ช่างกั้นห้องกระจกสาธุประดิษฐ์
ช่างกั้นห้องกระจกสามเสน
ช่างกั้นห้องกระจกสีลม
ช่างกั้นห้องกระจกสุขาภิบาล
ช่างกั้นห้องกระจกสุขุมวิท
ช่างกั้นห้องกระจกสุทธิสาร
ช่างกั้นห้องกระจกอนุเสาวรีย์ชัย
ช่างกั้นห้องกระจกอ่อนนุช
ช่างกั้นห้องกระจกปากเกร็ด
ช่างกั้นห้องกระจกบางใหญ่
ช่างกั้นห้องกระจกคลองหลวง
ช่างกั้นห้องกระจกธัญบุรี
ช่างกั้นห้องกระจกลาดหลุมแก้ว
ช่างกั้นห้องกระจกลำลูกกา
ช่างกั้นห้องกระจกสามโคก
ช่างกั้นห้องกระจกหนองเสือ
ช่างกั้นห้องกระจกกระทุ่มแบน
ช่างกั้นห้องกระจกบางพลี
ช่างกั้นห้องกระจกบางบ่อ
ช่างกั้นห้องกระจกพระประแดง
ช่างกั้นห้องกระจกพุทธมณฑล
ช่างกั้นห้องกระจกสามพราน
ช่างกั้นห้องกระจกเมืองหัวหิน
ช่างกั้นห้องกระจกบางรัก
ช่างกั้นห้องกระจกสาธร
ช่างกั้นห้องกระจกเซนส์หลุยส์
ช่างกั้นห้องกระจกสาธุประดิษฐ์
ช่างกั้นห้องกระจกบางแค
ช่างกั้นห้องกระจกภาษีเจริญ
ช่างกั้นห้องกระจกปิ่นเกล้า
ช่างกั้นห้องกระจกจรัญ
ช่างกั้นห้องกระจกบรมราชชนนี
ช่างกั้นห้องกระจกบางพลัด
ช่างกั้นห้องกระจกบางอ้อ
ช่างกั้นห้องกระจกบางกอกน้อย
ช่างกั้นห้องกระจกบางกอกใหญ่
ช่างกั้นห้องกระจกคลองสาน
ช่างกั้นห้องกระจกอิสรภาพ
ช่างกั้นห้องกระจกสาธร
ช่างกั้นห้องกระจกสวนผัก
ช่างกั้นห้องกระจกทุ่งมังกร
ช่างกั้นห้องกระจกราชพฤกษ์
ช่างกั้นห้องกระจกชัยพฤกษ์
ช่างกั้นห้องกระจกกัลปพฤกษ์
กาญจนาภิเษก
ช่างกั้นห้องกระจกพุทธมลฑล
ช่างกั้นห้องกระจกพระราม 2
ช่างกั้นห้องกระจกท่าพระ
ช่างกั้นห้องกระจกรัชดาภิเษก
ช่างกั้นห้องกระจกพระราม 3
ซ.วัดลาดปลาดุก
ช่างกั้นห้องกระจกแม้นศรี
ช่างกั้นห้องกระจกราษฎร์บูรณะ
ช่างกั้นห้องกระจกดาวคะนอง
ช่างกั้นห้องกระจกตลาดพลู
ช่างกั้นห้องกระจกพญาไท
ช่างกั้นห้องกระจกเจริญ
ช่างกั้นห้องกระจกปทุมวัน
ช่างกั้นห้องกระจกมาบุญครอง
ช่างกั้นห้องกระจกสยาม
ช่างกั้นห้องกระจกศรีย่าน
ช่างกั้นห้องกระจกเทเวศน์
ทวีวัฒนา
ช่างกั้นห้องกระจกบางนา
ช่างกั้นห้องกระจกสี่แยกทศกันต์
ช่างกั้นห้องกระจกตลิ่งชัน
ช่างกั้นห้องกระจกสุขุมวิท
ช่างกั้นห้องกระจกประตูน้ำ
ช่างกั้นห้องกระจกวุฒากาศ
ช่างกั้นห้องกระจกจอมทอง
ช่างกั้นห้องกระจกท่าเกษตร
ช่างกั้นห้องกระจกบางแวก
ช่างกั้นห้องกระจกบางหว้า
ช่างกั้นห้องกระจกวงเวียนใหญ่
ช่างกั้นห้องกระจกลาดหญ้า
ช่างกั้นห้องกระจกสำราญราษฎร์
ช่างกั้นห้องกระจกเสาชิงช้า
ช่างกั้นห้องกระจกสาธุประดิษฐ์
ช่างกั้นห้องกระจกซ.วัดลาดปลาดุก
ช่างกั้นห้องกระจกซ.วัดศรีประวัติ
ช่างกั้นห้องกระจกสมเด็จเจ้าพระยา
ช่างกั้นห้องกระจกเจริญนคร
ช่างกั้นห้องกระจกเพชรเกษม
ช่างกั้นห้องกระจกบางรัก
ช่างกั้นห้องกระจกยานนาวา
ช่างกั้นห้องกระจกเอกชัย
ช่างกั้นห้องกระจกกำนันแม้น
ช่างกั้นห้องกระจกเทเวศน์
ช่างกั้นห้องกระจกเทอดไท
ช่างกั้นห้องกระจกบางขุนเทียน
ช่างกั้นห้องกระจกท่าข้าม
ช่างกั้นห้องกระจกบางบอน
ช่างกั้นห้องกระจกสุขสวัสดิ์
ช่างกั้นห้องกระจกทุ่งครุ
ช่างกั้นห้องกระจกประชาอุทิศ
ช่างกั้นห้องกระจกลาพร้าว
ช่างกั้นห้องกระจกอนุสาวรีย์ชัย
ช่างกั้นห้องกระจกซ.อารีย์สัมพันธุ์
ช่างกั้นห้องกระจกอ้อมน้อย
ช่างกั้นห้องกระจกอ้อมใหญ่
ช่างกั้นห้องกระจกมหาชัย
ช่างกั้นห้องกระจกคลองขวาง
ช่างกั้นห้องกระจกบางมด
ช่างกั้นห้องกระจกหนองเเขม